eit link image
อบต.ลำเลียง
eit main image
iit link image
อบต.ลำเลียง
iit main image
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และจุดมุ่งหมาย
30 พฤศจิกายน 542

23


 

พันธกิจการพัฒนา

1.  ปรับปรุงและพัฒนาระบบคมนาคมขนส่ง  ระบบสาธารณูปโภค   สาธารณูปการให้ได้มาตรฐาน  มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน  เพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคตและเศรษฐกิจของท้องถิ่น

2.  การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของคน  ครอบครัว  และชุมชนให้เข้มแข็ง  สามารถพึ่งตนเองได้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง  

3.  การสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี  โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ  การวางแผนพัฒนา  การตรวจสอบ  เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหารและการปกครอง

4.  ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษาและสาธารณสุข  ตลอดจนอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามและภูมิปัญญาของท้องถิ่น

5.   เสริมสร้างความสงบเรียบร้อยมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

6.  การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารและการบริการให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น  เพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการที่ดี

7.   การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการด้านการท่องเที่ยว  และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี  เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

 

จุดมุ่งหมายเพื่อการพัฒนา

1.  การคมนาคมสะดวก 

2.  ระบบสาธารณูปโภค  สาธารณูปการ เพียงพอและทั่วถึง

3.  การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพ  ตามแนวธรรมาภิบาล

4.  การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น 

5.  ประชาชนดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

6.  ส่งเสริมการศึกษา  อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม  และขนบธรรมเนียมประเพณี 

7.  ประชาชนมีสุขภาพดี

8.  พัฒนาและบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืน

9.  จัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม  ไม่ให้เกิดมลพิษและมีความยั่งยืน

10.ชุมชนมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย  ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

11.ผู้สูงอายุ  ผู้พิการ  และผู้ด้อยโอกาสได้รับการดูแล

 

วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์แนวทางการพัฒนา
30 พฤศจิกายน 542

0


วิสัยทัศน์ในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลลำเลียง

          “คุณภาพชีวิตก้าวหน้า  โครงสร้างพื้นฐานมั่นคง  ดำรงชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

 แหล่งท่องเที่ยวและประเพณีเป็นที่เลื่องลือ เน้นยึดถือหลักธรรมาภิบาล   ”

พันธกิจการพัฒนา

1. ปรับปรุงและพัฒนาระบบการคมนาคมขนส่ง

2. ปรับปรุงและพัฒนาระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการให้ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและเพียงพอต่อความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการขยายตัวในอนาคต

3. การส่งเสริมและพัฒนาศักยภาพของคน ครอบครัว และชุมชนให้เข้มแข็ง สามารถพึ่งตนเองได้ตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง

4.  การสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี โดยให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนพัฒนา การตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหารและการปกครอง

5. ส่งเสริมและพัฒนาการศึกษา ตลอดจนอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามและภูมิปัญญาของท้องถิ่น

6. ส่งเสริมและพัฒนาระบบการบริการสาธารณสุข

7. ส่งเสริมและพัฒนาผู้สูงอายุ ผู้พิการ และผู้ด้อยโอกาสในชุมชน

8. เสริมสร้างความสงบเรียบร้อยมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน       

9. การเพิ่มประสิทธิภาพและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดี เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

10. การเพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการด้านการท่องเที่ยว

จุดมุ่งหมาย/เป้าประสงค์เพื่อการพัฒนา

1. การคมนาคมมีความสะดวกในการสัญจรไปมา

2. ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ แหล่งน้ำ เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน

3. ประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้นภายใต้การดำเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

4. การบริหารจัดการมีประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล ประชาชนมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ การวางแผนพัฒนา การตรวจสอบ เพื่อให้เกิดความโปร่งใสในการบริหารและการปกครอง

5. ส่งเสริมการศึกษา อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของท้องถิ่น

6. ประชาชนมีสุขภาพอนามัยที่ดี

7. ส่งเสริม และพัฒนาคุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ ผู้พิการ เด็ก สตรี เยาวชนและผู้ด้อยโอกาสให้มีจุดยืนในสังคมที่เท่าเทียมกัน

8. ชุมชนมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

9. บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมไม่ให้เกิดมลพิษและมีความยั่งยืน

10. พัฒนา ฟื้นฟู และบริหารจัดการด้านการท่องเที่ยวให้มีประสิทธิภาพและยั่งยืน

ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา

ยุทธศาสตร์ที่  1           การพัฒนาด้านเศรษฐกิจ

ประกอบด้วย  4  แนวทางการพัฒนา  คือ

แนวทางการพัฒนาที่  1  ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาชีพเพื่อสร้างรายได้แก่ประชาชน

แนวทางการพัฒนาที่  2  ส่งเสริมและสนับสนุนแนวทางปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

แนวทางการพัฒนาที่  3  ส่งเสริมและสนับสนุนการลดรายจ่ายในครัวเรือนและชุมชน

แนวทางการพัฒนาที่  4  สนับสนุนการออกเอกสารสิทธิ์ในที่ดินทำกิน  ที่อยู่อาศัยของประชาชนและการคุ้มครองที่ดินของรัฐ

ยุทธศาสตร์ที่  2           การพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสังคม

ประกอบด้วย  4  แนวทางการพัฒนา  คือ

แนวทางการพัฒนาที่  1  พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

แนวทางการพัฒนาที่  2 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานสุขภาพชีวิต

แนวทางการพัฒนาที่  3  ส่งเสริมและอนุรักษ์ศาสนา  ศิลปวัฒนธรรม  ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่นให้เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น

แนวทางการพัฒนาที่  4  รักษาความสงบเรียบร้อยภายในและการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย  เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ยุทธศาสตร์ที่  2           การพัฒนาและส่งเสริมคุณภาพชีวิตและสังคม

ประกอบด้วย  4  แนวทางการพัฒนา  คือ

แนวทางการพัฒนาที่  1  พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา

แนวทางการพัฒนาที่  2 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานสุขภาพชีวิต

แนวทางการพัฒนาที่  3  ส่งเสริมและอนุรักษ์ศาสนา  ศิลปวัฒนธรรม  ประเพณี  และภูมิปัญญาท้องถิ่น

ให้เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น

แนวทางการพัฒนาที่  4  รักษาความสงบเรียบร้อยภายในและการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย  เพื่อให้ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ยุทธศาสตร์ที่  3           การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน สาธารณูปโภคและสาธารณูปการ

ประกอบด้วย  3  แนวทางการพัฒนา  คือ

แนวทางการพัฒนาที่  1  พัฒนาด้านคมนาคมขนส่งให้มีความสะดวกได้มาตรฐานและทั่วถึง

แนวทางการพัฒนาที่  2  พัฒนาระบบสาธารณูปโภค  สาธารณูปการ  ให้มีประสิทธิภาพและทั่วถึง

แนวทางการพัฒนาที่  3  พัฒนา  ปรับปรุง  บำรุงรักษาแหล่งน้ำให้มีคุณภาพและเพียงพอต่อความ

ต้องการของประชาชน

ยุทธศาสตร์ที่  4           การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ประกอบด้วย  2  แนวทางการพัฒนา  คือ

แนวทางการพัฒนาที่  1  สร้างจิตสำนึกและความตระหนักในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดล้อม

แนวทางการพัฒนาที่  2  บำบัด  ฟื้นฟู  ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ยุทธศาสตร์ที่  5           การพัฒนาส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ประกอบด้วย  3  แนวทางการพัฒนา  คือ

แนวทางการพัฒนาที่  1  การพัฒนา  ฟื้นฟู  แหล่งท่องเที่ยวให้มีศักยภาพ

แนวทางการพัฒนาที่  2  การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์  และการดำรงวิถีชีวิตชุมชนท้องถิ่น

แนวทางการพัฒนาที่  3  การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเที่ยวให้เป็นที่รู้จักแพร่หลาย

ยุทธศาสตร์ที่  6           การเสริมสร้างระบบบริหารจัดการที่ดี

ประกอบด้วย  4  แนวทางการพัฒนา  คือ

แนวทางการพัฒนาที่  1  พัฒนาบุคลากรในองค์กรและท้องถิ่นให้มีประสิทธิภาพ

แนวทางการพัฒนาที่  2  สร้างจิตสำนึก  ค่านิยม  และจรรยาบรรณในการปฏิบัติราชการ

แนวทางการพัฒนาที่  3  ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน

แนวทางการพัฒนาที่  4  พัฒนาสำนักงานให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน